1. ลินุกซ์ทะเล 5.5 (Samila) + Gnome 2.6
ความต้องการ
การใช้งานเบื้องต้น
2. Knoppix Linux Live CD (ผ่านทาง Fedora Core1 Live CD)
*คุณสมบัติทั่วไป
- Kernel 2.4.25-4.tle
รองรับ SMP โดยการพิมพ์ smp ตอน boot
- Glibc 2.3.2
- XFree86 4.3.0
-
Gnome 2.6.0
- OpenOfficeTLE 1.1.0
- Thai TrueType Fonts
- The Gimp 2.0.1
- Sodipodi 0.33
-
XMMS 1.2.10
- ArnThai 2.0
- LEXiTRON 2.0 pre2
- ThaiLatex
- Mozilla 1.6 + ICU
- etc.
1. การใช้งานกับ อุปกรณ์ USB Driver / Floppy Disk การใช้งานสามารถใช้ได้ทั้ง USB 1.x และ 2.0 เมื่อเสียบอุปกรณ์เข้าไปแล้ว ถ้าระบบรู้จักอุปกรณ์นั้น จะปรากฏอยู่ใน "คอมพิวเตอร์" ซึ่งจะต่างกับ ลินุกซ์ทะเล 5.5 ปกติ คือเมื่อ Click ขวาที่ Desktop แล้วจะเห็นอุปกรณ์ แต่ใน Gnome 2.6 นี้อุปกรณ์ พวก Harddisk และ USB Drive จะแสดงให้เห็น ใน "คอมพิวเตอร์" การเปิด "คอมพิวเตอร์" ให้ท่าน Double Click รูป Icon บน "คอมพิวเตอร์" Desktop ถ้าท่านต้องการ Mount อุปกร์ตัวใดก็ให้ Double Click บนอุปกรณ์ตัวนั้นและเมื่อเลิกใช้แล้วให้ทำการยกเลิก Mount ด้วยการ Click ขวาบน อุปกรณ์แล้วทำการยกเลิก หมายเหตุ: ก่อนถอดอุปกรณ์ USB Drive ให้ท่านทำการยกเลิก Mount ทุกครั้ง
2. การติดตั้ง Flash และ MP3 Plugins ถ้าท่านต้องการเล่น Flash และ ฟังเพลง MP3 ด้วย XMMS ท่านต้องติดตั้ง Plugins ดังกล่าวก่อน ถ้าท่านสามารถติดต่อกับ Internet ได้แล้วให้ท่าน Double Click ที่ Icon บน Desktop แล้ว โปรแกรมจะทำการติดตั้งให้ท่าน ความเร็วขึ้นอยู่กับ Internet ที่ท่านใช้ หมายเหตุ: หากท่านไม่ต้องการ Download Plugins ทุกครั้งที่ใช้งาน แนะนำให้ท่าน Copy เก็บไว้ใน Harddisk หรือ USB Drive โดย Flash Plugin จะเก็บไว้ใน .mozilla (มี จุดอยู่หน้าตัว m) และ MP3 Plugin จะเก็บไว้ใน .xmms (มี จุดอยู่หน้าตัว x)
3. การเชื่อมต่อ Network ผ่าน LAN Card ถ้าระบบตรวจพบ Card Lan ของท่านระบบจะทำการเรียกของหมายเลข IP จาก Server ในเครือข่ายของท่าน ถ้าเครือข่ายของท่านมีบริการนี้ก็จะสามารถใช้งาน Internet ได้ทันที หรือถ้า Boot ก่อนที่จะเสียบสาย Lan ท่านสามารถเสียบ Lan ได้โดยไม่ต้อง Boot ใหม่ระบบจะร้องขอ IP เองอัตโนมัติ หมายเหตุ: ถ้าท่านต้องการ ปรับแต่ง IP เองให้เรียกคำสั่ง netconfig ผ่านทาง Terminal เอง แล้วทำการ Restart Network โดยใช้คำสั่ง $ sudo /etc/init.d/network restart
4. การเชื่อมต่อ Network ผ่าน Modem การเชื่อมต่อ Modem ถ้าเป็น Modem แบบภายนอกแบบ Serail ท่านสามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องลง Driver เพิ่มเติม โดยอุปกรณ์จะต่อที่ /dev/ttyS0 (Com1) หรือ /dev/ttyS1 (Com2) แต่ถ้าท่านใช้ Modem แบบ ภายใน ระบบได้เตรียม Drivers ไว้ให้สองแบบ คือ 4.1 Smart Link Modem HAMR5600 based AMR/CNR/MDC/ACR modem : - netodragon - Intel Modem ICH0 ICH2 ICH3 - Via 686A 686B 8231 8233 - SIS630 - ALI 1535 SmartPCI56 , SmartPCI561 based PCI modem SmartPCI56 based USB modem 4.2 HSF Modem การปรับแต่ง modem Smart Link Modem ให้ทำการแก้ไข File /etc/modules.conf (สิทธิ root) แล้วทำการเอาเครื่องหมาย # ออก ดูตัวอย่าง ก่อน ### SmartLink Modem #alias char-major-212 slmodem #alias slmodem slamrmo #alias slmodem slusb #options slmdm country=THAILAND หลัง สำหรับ PCI/AMR/CNR ### SmartLink Modem alias char-major-212 slmodem alias slmodem slamrmo #alias slmodem slusb options slmdm country=THAILAND หลัง สำหรับ USB ### SmartLink Modem alias char-major-212 slmodem #alias slmodem slamrmo alias slmodem slusb options slmdm country=THAILAND เสร็จแล้วให้บันทึก ทำการสร้าง /dev/modem โดยการใช้คำสั่ง $ sudo ln -s /dev/ttySL0 /dev/modem เสร็จสำหรับการปรับระบบ เมื่อต้องการหมุนให้เรียกโปรแกรมจาก Menu --> โปรแกรม อินเทอร์เน็ต --> เครื่องมือหมุนเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ปรับแต่งค่าตามต้องการครับ HSF Modem (ไม่ได้ทดสอบ) ให้ทำการแก้ไข File /etc/modules.conf (สิทธิ root) ก่อน ### HSF Modem #alias /dev/ttySHSF[0-9]* /dev/ttySHSF #alias char-major-240 /dev/ttySHSF #alias /dev/modem /dev/ttySHSF #alias /dev/cuaHSF[0-9]* /dev/ttySHSF #alias char-major-241 /dev/ttySHSF #options hsfserial serialmajor=240 calloutmajor=241 #alias /dev/hsfdiag hsfosspec #alias /dev/hsfdiag* /dev/hsfdiag #alias char-major-243 /dev/hsfdiag #options hsfosspec dcpmajor=242 diagmajor=243 # probeall /dev/ttySHSF hsfpcibasic2 hsfmc97ich hsfmc97via hsfmc97ali #probeall hsfserial hsfpcibasic2 hsfmc97ich hsfmc97via hsfmc97ali หลัง ### HSF Modem alias /dev/ttySHSF[0-9]* /dev/ttySHSF alias char-major-240 /dev/ttySHSF alias /dev/modem /dev/ttySHSF alias /dev/cuaHSF[0-9]* /dev/ttySHSF alias char-major-241 /dev/ttySHSF options hsfserial serialmajor=240 calloutmajor=241 alias /dev/hsfdiag hsfosspec alias /dev/hsfdiag* /dev/hsfdiag alias char-major-243 /dev/hsfdiag options hsfosspec dcpmajor=242 diagmajor=243 probeall /dev/ttySHSF hsfpcibasic2 hsfmc97ich hsfmc97via hsfmc97ali probeall hsfserial hsfpcibasic2 hsfmc97ich hsfmc97via hsfmc97ali บันทึกเสร็จแล้วให้ทำการเรียก $ sudo hsfconfig --auto โปรแกรมจะทำการปรับแต่งให้เองถ้าไม่มีอะไรผิดพลาดท่านจะสามารถใช้งาน modem ได้ทันทีหลังโปรแกรมทำงานเสร็จ
5. การสลับแป้นพิมพ์ ไทย <-> อังกฤษ การสลับภาษา สามารถทำได้โดยการกดปุ่ม Alt + Shift และ กดปุ่ม Alt ขวาค้างสำหรับการสลับชั่วคราว
6. การพิมพ์ภาษาไทยผ่าน Mozilla หากท่านติดตั้งเครื่องพิมพ์เรียบร้อยแล้วท่านสามารถพิมพ์ภาษาไทยจาก Mozilla ได้เลย ถ้าขนาดของตัวหนังสือไม่ถูกใจให้ท่านปรับแต่ง ตัว Xprint ได้ดังนี้ครับ ให้ท่านแก้ไข File /etc/xprint/model-config (สิทธิ root) โดยการตั้งค่า *printer-resolutions-supported: 300 360 400 600 ให้ใส่ค่า resolutions เพียงค่าเดียวให้ตรงกับเครื่องพิมพ์ของท่าน เช่น เครื่องพิมพ์ HP Laser Jet 2200 ที่ 1200 DPI *printer-resolutions-supported: 1200 บันทึกแล้วสามารถพิมพ์ได้ทันทีไม่ต้อง Restart อะไรทั้งสิ้น *ความสามารถที่ยังไม่มี - การติดตั้งระบบลงใน Harddisk - การ Eject แผ่นออกขณะทำงาน - ระบบเก็บข้อมูลปรับแต่ง รายละเอียดเพิ่มเติม: http://www.opentle.org ทีมพัฒนา 26 เมษายน 2547
ท่านสามารถ ดาวน์โหลด LinuxTLE 5.5 Live CD ได้ฟรี ที่นี้
หากท่านไม่ต้องการ ดาวน์โหลด เองทางเรามีบริการ ดังนี้ครับ LinuxTLE 5.5 Live CD อยู่ใน CD แผ่นเดียวครับ ราคา 150 บาท แถมกล่องแบบบาง พร้อมค่าจัดส่งทั่วประเทศ
สนใจติดต่อสั่งซื้อ CD ได้ที่ khon-tum@thailand.net
|
กลับหน้าแรก |